Monthly Archives: November 2010

“องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบแอดมิสชั่นส์ที่กำหนด
ต้องสามารถใช้วัดสมรรถนะและคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ในการศึกษาต่อระดับการศึกษาขั้นสูงได้.” Continue reading

“ก า ร พ ล า ด ห วั ง อาจสร้างโอกาสที่ดีให้กับชีวิต,
มีคนอีกมากมายที่ไม่จบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
แต่ ป ร ะ ส บ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ในชีวิตมากกว่าคนที่จบ.” Continue reading

แ อ ด มิ ส ชั่ น ส์ เป็นระบบการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยที่ไม่เน้นวิธีการสอบ.
แต่เมื่อกระทรวงศึกษาธิการนำเอามาใช้ ยังคงเน้นใช้วิธีการสอบ
และมักจะมีการตั้งคำถามอยู่เสมอว่า
” มี วิ ธี อ ะ ไ ร ดี ไ ป ก ว่ า ก า ร ส อ บ ? ” Continue reading

การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองจะ ต้ อ ง ดู ทั้ ง ร ะ บ บ ห รื อ อ ง ค์ ร ว ม
โดยต้อง ป ฏิ รู ป ทุ ก ด้ า น ไ ป พ ร้ อ ม กั น
เพราะการปฏิรูปการศึกษาแต่ละด้าน มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ ม โ ย ง กั น,
ลำพังกระทรวงศึกษาธิการกระทรวงเดียวย่อมไม่สามารถปฏิรูปการศึกษาให้สำเร็จได้.
Continue reading

ความสำเร็จของการใช้ ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่ คือ ความสำเร็จที่มุ่งสู่ตัวผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนเป็น ค น ดี ของสังคม เป็น ค น เ ก่ ง ในระดับสากลได้
และสามารถดำเนินชีวิตได้อย่าง มี ค ว า ม สุ ข.
Continue reading

นโยบายด้านการศึกษา ประกอบด้วย 3 เรื่องที่เป็นหลัก ได้แก่
จุดมุ่งหมายการศึกษา,
หลักการจัดการศึกษา
และวิธีการจัดการศึกษา Continue reading

“การจัดซื้อโดยส่วนกลางแม้ในบางครั้งจะมี
ความ สุ จ ริ ต, โ ป ร่ ง ใ ส และ เ ป็ น ธ ร ร ม
แต่ก็อาจจะมีปัญหาเรื่องสื่อการเรียนรู้นั้นไม่สอดคล้องกับความต้องการของครูและนักเรียน.” Continue reading

“ถึงเวลาที่กระทรวงศึกษาการควรทำหน้าที่เป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนและกำกับดูแล
เพื่อให้เกิดการแข่งขันที่ ‘เสรีและเป็นธรรม’
…ไม่ใช่ในฐานะ ‘คู่แข่ง’ กับเอกชน…” Continue reading

“…เรามีระบบเศรษฐกิจ แ บ บ เ ส รี อาศัย ก ล ไ ก ต ล า ด
แต่กระทรวงศึกษาธิการเลือกใช้ระบบเศรษฐกิจ แ บ บ สั ง ค ม นิ ย ม
คือ รั ฐ เ ป็ น ผู้ ผ ลิ ต, ผู้ ตั้ ง ง บ ป ร ะ ม า ณ และเป็น ผู้ ซื้ อ – ผู้ ข า ย หนังสือเรียนกันเอง…” Continue reading