Category Archives: การเมือง

ที่ผ่านมา…’อำนาจอธิปไตยของเรา’ ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ น า ย ทุ น ร ะ ดั บ ช า ติ และ น า ย ทุ น ต่ า ง ช า ติ
เนื่องจาก ‘กลไก’ ในการ “ต ร ว จ ส อ บ และ ถ่ ว ง ดุ ล (checks & balances)” ของเราไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
…เราจึงจำเป็นต้อง “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่” เพื่อออกแบบโครงสร้างอำนาจอธิปไตยใหม่… Continue reading

รัฐธรรมนูญแบ่งอำนาจอธิปไตยออกเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ อำนาจ นิ ติ บั ญ ญั ติ, อำนาจ บ ริ ห า ร และ อำนาจ ตุ ล า ก า ร
นอกจากนี้ ยังกำหนดให้มี อ ง ค์ ก ร อิ ส ร ะ ต า ม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ เพื่อให้มีการตรวจสอบการใช้อำนาจของทั้ง 3 ฝ่ายดังกล่าว.
แต่…การปกครองระบอบประชาธิปไตยภายใต้เศรษฐกิจในระบบทุนนิยม, อำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยกลับตกอยู่ภายใต้อำนาจเงินของพรรคการเมืองที่มีนายทุนระดับชาติสนับสนุน
Continue reading

การปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย เราคงต้องปฏิรูปทั้งในด้านโครงสร้าง และพัฒนาในด้านคนให้สอดรับกับระบอบการปกครองโดยการให้การศึกษา
( หรือ…เราอาจต้องสร้างระบอบการปกครองให้สอดรับกับคน! ). Continue reading

กฎธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต…คือ ก า ร อ ยู่ ร อ ด !
ชีวิตที่ปรับตัวได้ดีที่สุดจึงจะอยู่รอด…Survival of the Fittest.
มนุษย์พยายามมองหาคุณค่า (Value) ของการอยู่ร่วมกัน นอกเหนือจากการอยู่รอด…อันเป็นที่มาของ ศี ล ธ ร ร ม, คุ ณ ธ ร ร ม และ จ ริ ย ธ ร ร ม. Continue reading

การปฏิรูปการเมืองจึงต้องให้ความสำคัญของการปฏิรูปท้องถิ่นเป็นอย่างสูง,
และ“การศึกษา”จะต้องเป็นพันธกิจ (Mission) สำคัญของทุกท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาคน.
“ประชาธิปไตยจะก้าวหน้า…ท้องถิ่นต้องได้รับการพัฒนา”.
การปฏิรูปการเมือง คือ การปฏิรูปการใช้อำนาจอธิปไตยและอำนาจรัฐ เพื่อไปปฏิรูปประเทศไทยในด้านอื่นๆ
ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ, สังคม และการศึกษา อันจะเป็นการลดความเหลื่อมล้ำของประชาชนที่กำลังเพิ่มมากขึ้น.
ดังนั้น การปฏิรูปประเทศไทยจึงจำเป็นต้องเริ่มจากการปฏิรูปการเมืองไทยให้ยั่งยืน.
Continue reading

การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่…โดยมีโครงสร้างอำนาจอธิปไตยใหม่ดังกล่าว จะมีส่วนช่วยปลดแอกอำนาจอธิปไตยของประชาชนให้หลุดพ้นจากอำนาจทุนของพรรคการเมือง, อันเป็นการปฏิรูปการเมืองไทยให้ยั่งยืน.
การเมืองเป็นเรื่องของการใช้อำนาจรัฐ เพื่อ…ไปปฏิรูปประเทศไทยในด้านต่างๆ
เพื่อ…สร้างคนให้มีจิตวิญญาณประชาธิปไตย, มีจิตต่อสาธารณะ, สำนึกในหน้าที่พลเมือง, มีเศรษฐกิจพอเพียง และมีอิสระในการตัดสินใจทางการเมือง
เพื่อ…ให้การเลือกตั้งแบบ 1 คน 1 เสียง สามารถสะท้อนความต้องการของประชาชน (Popular Will) ได้อย่างแท้จริง. Continue reading

“ถ้าไม่มีสภา ไม่มีรัฐบาล และไม่มีพรรคการเมือง สัก 3 เดือน, 6 เดือน หรือ 1 ปี…บ้านเมืองเราจะอยู่รอดต่อไปได้หรือไม่?”. Continue reading

เรามีวิธีการเลือกตั้งแบบอื่นที่ “ไม่ต้องเลียนแบบตะวันตก” หรือไม่ ?
สังคมตะวันตกเป็น สั ง ค ม แ บ บ ปั จ เ จ ก บุ ค ค ล ( individualistic society )
แต่สังคมไทยเป็น สั ง ค ม แ บ บ ค ร อ บ ค รั ว ข ย า ย ( collectivistic society ).
เราอยู่กันแบบครอบครัวใหญ่…คนในหมู่บ้านเป็นพี่น้องกัน,
เป็นลุงเป็นป้า…เป็นน้าเป็นอากัน.
คนไม่รู้จัก…ก็ยังเรียกลุงเรียกป้า, เรียกน้าเรียกอา และเรียกพี่เรียกน้อง
เราควรออกแบบการเลือกตั้งที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย.
Continue reading

น โ ย บ า ย ป ร ะ ช า นิ ย ม…เป็นการ ใ ช้ เ งิ น เ ร า ไปหาเสียง.
…สร้างความนิยมให้กับตนเอง
แต่ใช้ เ งิ น ภ า ษี ของประชาชน.
ภาษีจาก เ งิ น เ ดื อ น ของพวกเรา,
ภาษีจาก สินค้าที่เราซื้อ.
Continue reading

เมื่อเราชอบ “ ส้ ม ต ำ ” ที่มีรสเปรี้ยว หวาน เค็ม และเผ็ด,
เราก็พอใจที่จะเลือกกินส้มตำ.
เมื่อเราชอบ “ แ ก ง จื ด ” ที่มีรสหวานตามธรรมชาติ,
เราก็พอใจที่จะเลือกกินแกงจืด.
และเมื่อเราชอบ “ แ ก ง เ ห ลื อ ง ” ที่มีรสเผ็ดจัด,
เราก็พอใจที่จะเลือกกินแกงเหลือง… แกงจืดไม่เอานะ.
สื่อสารมวลชนบางรายก็เลือกข้างเหมือนกัน ตกลงเราตกเป็นเหยื่อของใครกันบ้าง…
Continue reading