
การศึกษาเป็นระเบียบวาระแห่งชาติ (National Agenda) ของประเทศที่พัฒนาแล้วทุกประเทศ,
เพราะการพัฒนาประเทศ จะต้อง พั ฒ น า ค น,
และในการ พั ฒ น า ค น ต้องอาศัยเรื่อง ก า ร ศึ ก ษ า.
“ก า ร ศึ ก ษ า พั ฒ น า ค น แ ล ะ ค น พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ”
กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ Continue reading

“ในเมื่อการศึกษาเป็นกระบวนการของการเรียนรู้
และกระบวนการของการเรียนรู้ที่สำคัญคือ ‘การคิด’.
ดังนั้น คุณธรรม จึงควรแทรกอยู่ในกระบวนการคือ
‘ก า ร คิ ด’
ใช่หรือไม่?” Continue reading

สังคมไทยปัจจุบันเรียกร้องและถามหาเรื่อง “คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม” กันในเกือบทุกวงการ.
คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม คืออะไร?
เรานิยมใช้ “คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม” คู่กันเพราะอะไร?
ศ า ส น า, ศี ล ธ ร ร ม, คุ ณ ธ ร ร ม และ จ ริ ย ธ ร ร ม มีความสำคัญอย่างไร? Continue reading

ทุกคนต่างรู้สึกว่าตนเองเป็นคนดี.
คนดีคือคนที่ทำความดี,
แ ต่ ค ว า ม ดี คื อ อ ะ ไ ร ? Continue reading

การเรียนรู้จะทำให้มนุษย์ผู้ที่มีเจตนา (Deed) และความปรารถนาอันแรงกล้า (Will)
เปลี่ยนแปลงกรรม (Karma) อันได้แก่ ก า ย, ว า จ า และ ใ จ ของตนเองได้.
คนเรียนรู้…ชุมชนจะพัฒนา…ชาติก็จะรุ่งเรือง.
Continue reading

“เยาวชนไทยได้รับการเตรียมตัวไม่เพียงพอสำหรับการใช้ชีวิต และการเป็นพลเมืองที่มีศักยภาพ.” Download PDF >> 7-คุณภาพการศึกษาของไทย(ICU)

“รัฐบาลใหม่จะต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน
ทั้งในเรื่องครู, ทรัพยากรการศึกษา,
การกระจายอำนาจการบริหาร
และการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน”. Continue reading

“ก า ร ศึ ก ษ า” เป็นเรื่องที่พรรคการเมืองต่างก็ชูเป็นนโยบายสำคัญในตอนหาเสียง.
พึงระลึกว่านโยบายที่พรรคการเมืองได้ให้ไว้ต่อสาธารณะ ถือเป็น
สั ญ ญ า ป ร ะ ช า ค ม ( S o c i a l C o n t r a c t )
ที่พรรคจะต้องดำเนินการเมื่อมีโอกาสได้เป็นรัฐบาลบริหารประเทศ. Continue reading

“การศึกษาควรมีจุดมุ่งมายให้ผู้เรียน มีคุณธรรมและปัญญา
กล่าวคือ ต้องเป็นคนมีคุณธรรมและจริยธรรม,
มีความรู้, รู้จักคิด และลงมือทำ
โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ.” Continue reading

Time to Change…ได้เวลาที่คุณครูต้องเปลี่ยนแปลง
ด้วยการ “สอนให้น้อยลง แต่ให้นักเรียนเรียนรู้ให้มากขึ้น (Teach Less, Learn More)”
…
ผมขอมอบคำขวัญ เพื่อเป็นกำลังใจให้กับคุณครูทุกท่าน ดังนี้
“ค รู…คื อ พ ลั ง ส ำ คั ญ ในการขับเคลื่อนการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21″. Continue reading

ถึง…คุ ณ ค รู ที่ รั ก
มาเตรียมพร้อมสู่การเป็น “ค รู แ ห่ ง ศ ต ว ร ร ษ ที่ 21″ ด้วยกันนะครับ. Continue reading

ที่ผ่านมา…’อำนาจอธิปไตยของเรา’ ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ น า ย ทุ น ร ะ ดั บ ช า ติ และ น า ย ทุ น ต่ า ง ช า ติ
เนื่องจาก ‘กลไก’ ในการ “ต ร ว จ ส อ บ และ ถ่ ว ง ดุ ล (checks & balances)” ของเราไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
…เราจึงจำเป็นต้อง “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่” เพื่อออกแบบโครงสร้างอำนาจอธิปไตยใหม่… Continue reading

รัฐธรรมนูญแบ่งอำนาจอธิปไตยออกเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ อำนาจ นิ ติ บั ญ ญั ติ, อำนาจ บ ริ ห า ร และ อำนาจ ตุ ล า ก า ร
นอกจากนี้ ยังกำหนดให้มี อ ง ค์ ก ร อิ ส ร ะ ต า ม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ เพื่อให้มีการตรวจสอบการใช้อำนาจของทั้ง 3 ฝ่ายดังกล่าว.
แต่…การปกครองระบอบประชาธิปไตยภายใต้เศรษฐกิจในระบบทุนนิยม, อำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยกลับตกอยู่ภายใต้อำนาจเงินของพรรคการเมืองที่มีนายทุนระดับชาติสนับสนุน
Continue reading

Road Map การปฏิรูปการศึกษาไทย…ซึ่งจะต้องเริ่มจาก “จุ ด มุ่ ง ห ม า ย”,
“ห ลั ก ก า ร” และ “วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า”
รวมทั้งจะต้องมี ก า ร ป ฏิ รู ป ใ ห้ ค ร บ ทั้ ง 5 ด้ า น
จึงจะสามารถตอบโจทย์การปฏิรูปการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 นี้ได้. Continue reading

การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบมองย้อนกลับ ก็คือ
การจัดการเรียนรู้ที่นำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
เป็นเป้าหมายสำคัญที่นักเรียนต้องเดินทางไปให้ถึงเป้าหมายนั้น (จุดจบเรื่อง)
ส่วนครูมีบทบาทสำคัญที่ต้องหาหนทางนำพานักเรียนไปให้ถึงตอนจบ
แบบ H a p p y E n d i n g (ดี-เก่ง-สุข-พึ่งตนเองได้). Continue reading

การปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย เราคงต้องปฏิรูปทั้งในด้านโครงสร้าง และพัฒนาในด้านคนให้สอดรับกับระบอบการปกครองโดยการให้การศึกษา
( หรือ…เราอาจต้องสร้างระบอบการปกครองให้สอดรับกับคน! ). Continue reading

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้ความสำคัญการฝึกฝนทักษะของผู้เรียน, ครูควรออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสม โดยสอนให้น้อยลง และเปิดโอกาสให้นักเรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองให้มากขึ้นผ่านการทำกิจกรรมต่างๆ (Teach less, Learn more) Continue reading

กฎธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต…คือ ก า ร อ ยู่ ร อ ด !
ชีวิตที่ปรับตัวได้ดีที่สุดจึงจะอยู่รอด…Survival of the Fittest.
มนุษย์พยายามมองหาคุณค่า (Value) ของการอยู่ร่วมกัน นอกเหนือจากการอยู่รอด…อันเป็นที่มาของ ศี ล ธ ร ร ม, คุ ณ ธ ร ร ม และ จ ริ ย ธ ร ร ม. Continue reading

“การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (ปี พ.ศ. 2552-2561)”….มีการปรับหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการปฏิรูปการศึกษาในระดับโลก ที่มุ่งเน้นปฏิรูปการเรียนรู้ โดยเน้นสอนให้น้อยลง แต่ให้ผู้เรียนเรียนรู้มากขึ้น (Teach Less, Learn More) Continue reading